วันอังคารที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2554

พลังงานไฟฟ้าจากพืช


โครงการ
ไฟฟ้าพลังงานจากพืช

โดย

         1.นาย สายันห์ กระต่าย 
         2.นายภูวนัย วัลลา
         3.นายอิทธิพงษ์ วงษ์น้อย   
         4.นายอิทธิพร อารีรอบ 
         5.นายอุเทน ชมมี  
ชื่อครูที่ปรึกษา
1.  อาจารย์ฎังกพัฒน์  มครศวรรยธรรม  
บทนำ
1.1  ความเป็นมาของโครงการ
การที่กลุ่มข้าพเจ้าได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นก็เพื่อที่จะนำวิชาความรู้ที่ได้เรียนรู้มา ประยุกต์ใช้ในการทำโครงการ โครงการที่ได้จัดทำขึ้นนี้เป็นโครงการ ศึกษาเกี่ยวกับไฟฟ้าพลังงานจากพืช ซึ่งกลุ่มของข้าพเจ้าได้เรียนรู้        กับอาจารย์ ฎังกพัฒน์ มครศวรรยธรรม  เป็นผู้ให้คำปรึกษา กลุ่มของข้าพเจ้าได้ทำชุดทดลองการไฟฟ้าพลังงานจากพืช  ซึ่งได้แสดงถึงหลักการของพืชที่สามารถให้กระแสไฟฟ้าได้ อย่างชัดเจน การทดลองนี้จึงเป็นสิ่งที่แสดง ถึงความรู้ความเข้าใจที่กลุ่มของข้าพเจ้าได้ศึกษาวิชาไฟฟ้าพลังงานจากพืช
1.2   วัตถุประสงค์
1.       เพื่อเป็นต้นแบบในการศึกษาไฟฟ้าพลังงานจากพืช
2.       เพื่อเป็นการนำความรู้ที่มี มาประยุกต์ใช้งานจริง
3.       เพื่อเป็นผลงานประกอบในการเรียนวิทยาศาสตร์
4.       เพื่อเป็นการกระตุ้นให้เกิดการวิจัยค้นคว้าในการนำพลังงานจากธรรมชาติมาใช้ต่อภายในอนาคต
          5.   เพื่อเป็นต้นแบบในการศึกษาไฟฟ้าพลังงานจากพืช
หลักการและเหตุผล
                ในปัจจุบันได้มีการใช้พลังงานทดแทนมากขึ้น เนื่องจากทรัพยากรธรรมชาติที่นำมาผลิต เริ่มมีการลดลงไฟฟ้าได้จากพืช สามารถให้พลังงานไฟฟ้าได้ทั้งนั้น การนำพลังงานจากพืช เหล่านี้มาผ่านกระบวนการแปรรูป เพื่อให้ได้กระแสไฟฟ้าขึ้นมาก็เป็นอีกวิธีหนึ่งที่มีการพัฒนา มาต่อเนื่องในการแก้ปัญหา วิกฤตการขาดแคลนพลังงานและใช้ของเหลวที่ได้จากผลไม้เป็นสารอิเล็ทโทรไลด์ และเกรดซัลฟิวลิกส์เพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้าแบบกระแสตรง
               หลักการของเซลล์ไฟฟ้าเคมี ที่ได้จากพืชต่างๆคือการเปลี่ยนจากสารอิเล็ทโทรไลด์เป็นพลังงานไฟฟ้า โยนำขั้วไฟฟ้าคือ ทองแดง และ สังกะสีเสียบ กับพืชชนิดต่างๆที่ในกระแสไฟฟ้าได้ขั้วไฟฟ้าทั้งสองจะทำปฎิกิริยากับสารละลายแล้วเกิดการแตกตัวโดยสังกะสี จะแตกตัวเป็น             อิเล็กตรอนมากกว่าทองแดงทำให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่จากขั้วสังกะสี สู่ขั้วทองแดง ขั้วสังกะสีจะเป็นขั้วไฟฟ้าลบ และศักย์ไฟฟ้าต่ำ ส่วนขั้วทองแดง จะเป็นขั้วไฟฟ้าบวก และมีศักย์ไฟฟ้าสูง ดังนั้นจะทำให้มีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่จากขั้ว สังกะสีไปสู่ขั้วทองแดงจึงเกิดกระแสไฟฟ้ามากขึ้น
                  การทำโครงงานนี้เพื่อการศึกษาเรื่องเซลส์ไฟฟ้าเคมีที่ได้จากพืชต่างๆโดยใช้แผ่นทองแดง และสังกะสีเสียบลงไปในพืชชนิดต่างๆและทำการทดลองและวัดค่าแรงดันไฟฟ้าที่พืชว่าได้แรงดันเท่าไหร่แต่จะสามารถผลิตไฟฟ้าได้ปริมาณไฟฟ้าเล็กน้อยส่วนหลักการเกิดกระแสไฟฟ้าเป็นการกระไฟฟ้าจากการปฏิกิริยาทางเคมีที่เรียกกว่าelectochhemical energyโดยใช้ความเป็นกรดอ่อนๆในตัวของพืชชนิดต่างๆมาทำปฏิกิริยากับทองแดง และสังกะสี
 ผลการทดลอง
 ทดลองกับผลมะกรูด
ทดลองกับมันสำปะหลัง
ทดลองกับแอปเปิล 
ทดลองกับปะลด
ทดลองกับแตงโม
ทดลองกับมะละกอครับ
ทดลองกับส้มเขียวหวาน
ลองเสียบกับต้นกล้วย
สรุป อภิปรายผล และ ข้อเสนอแนะ
1.1 สรุปผลการทดลอง
โครงการนี้จัดทำขึ้นเพื่อทดลองหลักการศึกษาเซลส์ไฟฟ้าเคมีเพื่อที่จะได้เป็นตัวอย่างศึกษาข้อมูลต่างๆ และทดสอบข้อดีข้อเสียของโครงการเพื่อการศึกษาข้อมูลต่อไป
1.2 ปัญหาและอุปสรรคในการทดลอง
1.    อุปกรณ์ที่เสียบพืชไม่ขึ้นตามที่ต้องการ
2.    อุปกรณ์ที่ใช้ไม่เพียงพอต่อการทดลอง
3.    วัดแรงดันแล้วได้ค่าไม่คงที่
1.3 ข้อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนา
1.    เพื่อให้รู้คุณค่าและความสำคัญของพืชที่ให้กระแสไฟฟ้าได้
2.    เพื่อเป็นการกระตุ้นให้เกิดการศึกษาค้นคว้าในการนำพลังงานจากธรรมชาติมาใช้ต่อภายในอนาคต